The SUN Academy ขอเชิญชมโปรแกรมการจัดการอุตสาหกรรมผลิ ตวัสดุก่อสร้าง โรงงานผลิตวัสดุก่อสร้าง ร้านค้าวัสดุก่อสร้าง เวอร์ชั่น 9.9.9.9 G ตอนที่ 2
The SUN
Academy 356
เมนูลัด
The SUN Academy ขอนำเสนอเพื่อ แจงตามประเภทงาน ภาพกิจกรรม แสดงแก่แผนก หรือ ตามประเภทการใช้ เพื่อแสดงการรายการบันทึก การแสดงตามรายการค้นหา และการออกรายงาน สำหรับพนักงานผู้บันทึก และ พนักงานที่เกี่ยวข้อง ใน โปรแกรมการจัดการโรงงานผลิตอะไหล่ รถยนต์ แอร์ อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องจักร ร้านค้าจำหน่ายอะไหล่ , ศูนย์บริการ ขายซ่อมรถยนต์ , SME OTOP , สปา คลินิค, โรงงานผลิตวัสดุก่อสร้าง เวอร์ชั่น 9 G / 9.9 G / 9.9.9 G
ตอนที่ 1 แยกตามประเภทของงาน เพื่องานในเวอร์ชั่น 9.9 G และ 9.9.9 G
ตอนที่ 2 จัดไว้สำหรับผู้บริหาร เพื่องานในเวอร์ชั่น 9.9 G และ 9.9.9 G
ตอนที่ 3 เกี่ยวกับลักษณะทั่วไป และ การใช้โปรแกรม ภาคแรก เพื่องานในเวอร์ชั่น 9.9 G และ 9.9.9 G
ตอนที่ 4 เกี่ยวกับลักษณะทั่วไป และ การใช้โปรแกรม ภาคหลังเพื่องานในเวอร์ชั่น 9.9 G และ 9.9.9 G
The SUN Academy ขอเสนอการจัดการที่ดีบนคอมพิวเตอร์ เพื่อคนไทย เพื่อควบคุมต้นทุนการผลิต เพิ่มยอดขาย และการทำไรมากขึ้น ด้วยโปรแกรมการจัดการโรงงานผลิต อะไหล่รถยนต์ แอร์ อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องจักร ร้านค้าจำหน่ายอะไหล่ เวอร์ชั่น 9 G / 9.9 G / 9.9.9 G
1.) ลักษณะ
ตอนที่ 1 ที่เป็นภาพการใช้โปรแกรมในรูปของฟอร์มใช้งาน เรียกดู บันทึก และ ตัวอย่างรายงาน รวม 385 ภาพ อันเกี่ยวกับ 1. งานคลังสินค้า 2. งานบัญชีและการเงิน 3. งานฝ่ายผลิต / บริการ 4. งานฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ 5. งานบันทึกข้อมูลกลาง 6. งานผู้สามารถแก้ไขข้อมูล 7. ผู้ตรวจสอบบัญชี 8. ผู้บันทึกข้อมูลในเมนูรวม เวอร์ชั่น 9 G ซึ่ง โรงงานผลิตอะไหล่ ที่นครราชสีมา เริ่มใช้โปรแกรมนี้ เมื่อปี 2547 และ โปรแกรมมีรายงานที่สามารถพิมพ์ออกมาประมาณ 300 รายงาน มีการประมวลผลแสดงเป็นกราฟ 40-50 รายการ
ตอนที่ 2 ที่เป็นภาพจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ ในการใช้โปรแกรมในรูปของฟอร์มใช้งาน เรียกดู บันทึก และ ตัวอย่างรายงาน ในเวอร์ชั่น 9.9.9 G จัดไว้สำหรับผู้บริหาร เป็นการแสดงภาพจากโปรแกรมรวม 450 ภาพ อันเกี่ยวกับ 1. เมนูรายงานฝ่ายผลิต 2. เมนูรายงานฝ่ายคลังสินค้า 3. เมนูรายงานฝ่ายขายสินค้า 4. เมนูรายงานฝ่ายบัญชีและการเงิน 5. เมนูรายงานฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ 6. เมนูการสรุปผลและวิเคราะห์ 7. เมนูการวิเคราะห์ตามปีจากกราฟ 8.เมนูการวิเคราะห์ตามเดือนจากกราฟ 9. เมนูการเตือน ตามวันคงเหลือ 10.เมนูรวมข้อมูลขององค์กร 11.เมนูลัดพิเศษ
ตอนที่ 3 เกี่ยวกับลักษณะทั่วไป และ การใช้โปรแกรม ภาคแรก
ตอนที่ 4 เกี่ยวกับลักษณะทั่วไป และ การใช้โปรแกรม ภาคหลัง
2.) ลักษณะโดยสังเขป
A.)โปรแกรมทุกเวอร์ชั่น (9 G / 9.9 G / 9.9.9 G) ประกอบด้วย1.)งานคลังสินค้า 2.)งานจัดซื้อ 3.) งานการผลิต 4.)งานการขายสินค้า 5.)งานบัญชีและการเงิน (ออกใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี ลูกหนี้ เจ้าหนี้ เช็ครับ เช็คจ่าย) 6.)งานลูกค้าสัมพันธ์งานลูกค้าสัมพันธ์ 7.)งานข้อมูลกลาง 8.)ข้อมูลรวมของการบันทึก โดยมีเมนูเป็นแบบทั้ง เมนูลัด เมนูรวม เมนูพิเศษ(ปุ่มรูปภาพ) สำหรับพนักงานและผู้บริหาร และมีเมนูบันทึกรวม(คนเดียวบันทึกได้) โดยมีงานพิเศษประกอบด้วย 1.) มีการแสดงกราฟประมาณ 40-60 รายการ 2.) มีบาร์โค้ดเพื่อพิมพ์สลากสินค้า บัตรสมาชิก 3.) มีบัตรประจำตัวพนักงาน และ 4.) จ่าหน้าซองจดหมาย 5.) มีรายการเตือนเพื่องานคลังสินค้า และ งานบัญชี 6.) แสดงใบสั่งผลิตที่ยังไม่เสร็จ 7.) สินค้าหรือวัสดุการผลิตในคลังคงเหลือตามสถานที่เก็บและผู้ขาย 8.) แสดงและเตือนสินค้าในคลังที่ผิดปกติ สินค้าที่ไม่เคลื่อนไหว 9.) การเบิกจ่ายสินค้าในคลังจากหน่วยงานในองค์กร 10.) แสดงประวัติการผลิต หรือ บริการ ให้แก่ลูกค้า และ รายการแสดงการผลิตรายปี รายเดือน รายวัน
B.) เวอร์ชั่น 9 G เป็นการทำงานบันทึกข้อมูลเพียงเมนูเดียว ไม่ได้แยกประเภทงานหรือตามแผนก
C.) เวอร์ชั่น 9.9 G และ 9.9.9 G มี 1.) เมนูแยกตามแผนกหรือประเภทของงาน 2.) งานบัญชีส่งกรมสรรพากร งานจัดทำและกำกับเอกสารพิเศษ 3.) งานบันทึกเวลามาทำงาน เข้า/ออก ของพนักงานช่าง มีเมนูพิเศษของผู้บริหารเพื่อ 1.) งานติดตามวันสุดท้ายของการผลิต บริการ และ การซื้อสินค้า 2.) งานคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิต 3.) งานประเมินการผลิต 4.) งานประเมินผลงานของพนักงานช่างในแต่ละงานจากใบสั่งผลิต 5.) งานแสดงเวลามาทำงาน เข้า/ออก ของพนักงานช่าง 6.) งานบันทึกการตรวจสภาพสินค้าที่ผลิตแล้ว และใบส่งสินค้า 6.) งานการบันทึกและเก็บเงินการขายสินค้าเร่งด่วน หรือขายหน้าร้าน ผ่านเครื่องสแกนบาร์โค้ด
D.) เฉพาะเวอร์ชั่น 9.9.9 G มีเมนูการทำใบเสนอราคา และการรับเงินจากผู้ว่าจ้างผลิต มีเมนูพิเศษของผู้บริหาร เพื่อ 1.)งานรายรับ รายจ่าย 2.) งานต้นทุนการผลิต 3.) งานกำไรขาดทุนจากการขายสินค้าและผลิต 4.) งานบริหารงบประมาณ 5.) งานวิเคราะห์การขายสินค้าจากใบเสร็จและการผลิตรายปี 6.) งานการเคลื่อนไหวของสินค้าเพื่อการผลิตในคลังสินค้าตามปี 7.) ความก้าวหน้าของงาน (12 งาน) ในปีปัจจุบัน 8.) งานเปรียบเทียบกำไร ขาดทุน ของการขายสินค้าในคลัง สินค้าที่ผลิตจากองค์กร และ จากการผลิต 9.) งานการรับเงินจากผู้ว่าจ้างผลิตตามปี